กล้าม เนื้อ ล้า จาก การ วิ่ง

April 13, 2022

เสี่ยงต่อการบาดเจ็บเรื้อรังได้ เมื่อเราใช้งานกล้ามเนื้อและข้อต่อมากเกินไป บวกกับพักฟื้นไม่เพียงพอ อาจทำให้เจ็บบริเวณข้อต่อ กล้ามเนื้ออักเสบ และมีจุดกดเจ็บ (trigger point) ได้ เพราะความล้าไม่ได้สะสมแค่ที่กล้ามเนื้อ แต่สะสมที่ระบบประสาทซึ่งเป็นตัวสั่งการกล้ามเนื้อได้เช่นกัน หากระบบประสาทคุณทำงานไม่ได้เต็มที่ 100% และพยายามกลับไปวิ่งที่ความเข้มเข้นเท่าเดิม โอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บของข้อต่อ เอ็น และกล้ามเนื้อจึงมีมากขึ้น หากเจ็บเกิน 2 สัปดาห์ แนะนำให้พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 5. หัวใจเต้นผิดปกติ ปกติแล้วหัวใจเราจะเต้นในสภาพปกติและช้าที่สุดในช่วงที่ตื่นนอนตอนเช้า เป็นช่วงเวลาที่นิยมวัด Resting Hear Rate (RHR) เพื่อใช้ในการกำหนดโซนหัวใจ (Heart Rate Zone) เพราะมีค่าแม่นยำ ลองวัดอัตราการเต้นของหัวใจของคุณ หากเต้นเร็วผิดปกติจากค่าที่เคยวัดได้หมายความว่าร่างกายยังทำงานหนักเพื่อซ่อมแซมและฟื้นฟูสภาพร่างกายอยู่ แม้พักผ่อนมา 1 คืนเต็มก็ตาม การแก้ไขคือปรับตารางการฝึกซ้อมให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย ไม่งั้นอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาวมากกว่าผลดี ฝนตกแต่ต้องวิ่ง ทำไงดี? : 10 วิธีรับมือวิ่งหน้าฝน วิ่งเช้า vs วิ่งเย็น ช่วงไหนประโยชน์ดีกว่า?

เมื่อยล้ากล้ามเนื้อหลังออกกำลังกายมาหลายวันแล้ว ทำอย่างไรให้หายเร็ว ๆ ครับ - Pantip

"ยิ่งเราออกกำลังกายมากเท่าไร เรายิ่งแข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น" หลายคนอาจเคยได้ยินประโยคนี้ ซึ่งจริงๆ เป็นเรื่องปกติที่เราทำอะไรมากเท่าไร เราจะได้รับกลับมามากเท่านั้น แต่หากเราทำมันมากเกินกว่าที่ตัวเราเองจะรับไหว ย่อมไม่ส่งผลดีกลับมาแน่นอน ปัจจุบันคนรักการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น หลายคนมีแนวคิดผิดๆ คือออกกำลังกายเยอะเกินกว่าที่ร่างกายเราไหว แทนที่ร่างกายจะพัฒนากลับกลายเป็นถอยหลัง เพราะขาดการพักฟื้นที่เพียงพอ ส่งผลให้หลายคนหมดไฟในการวิ่งหรือเบิร์นเอาท์ในที่สุด เพราะวิ่งเท่าไรมันก็ไม่ดีขึ้นเลย ยิ่งวิ่งยิ่งแย่ลง แถมบาดเจ็บซ้ำแล้วซ้ำอีกไม่หายเสียที นายแพทย์จอร์แดน ดี.

ด้วยในวันที่ผมไม่ได้ไปวิ่ง ส่วนวันที่ผมไปวิ่งผมก็เพิ่มการวิ่ง จาก 5 กม. มาเป็น 6 กม.... วิ่ง 5-6 กม. ผมไม่หอบหนักนะครับ แค่หอบเล็ก ๆ (ตอนวิ่งหายใจทางปากบ้าง และสามารถพูดเป็นคำได้) แต่ที่วิ่งต่อไม่ไหวเพราะรู้สึกเมื่อยล้าครับ รู้สึกหมดแรง สิ่งที่ผมรู้สึกได้เลยหลังจากเพิ่มการวิ่งเป็น 6 กม. คือ เมื่อวิ่งเสร็จผมรู้สึกว่าเมื่อยล้ากล้ามเนื้อนานกว่าปกติหลายวันครับ โดยเฉพาะบริเวณขา เมื่อยขาช่วงบน, เมื่อยขาช่วงล่าง, เมื่อยข้อเท้า แต่ไม่รู้สึกเมื่อยที่เข่า, ไม่รู้สึกเมื่อยที่ก้น ไม่รู้สึกถึงอาการบาดเจ็บแปล๊บใด ๆ เลย ล่าสุดผมวิ่งไปเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา มาถึงวันนี้วันพุธแล้วยังไม่หายเมื่อยล้าเลยครับ เหมือนเพิ่งวิ่งมาเมื่อวาน (ตอนที่ผมวิ่ง 5 กม. ถ้าผมวิ่งวันจันทร์ วันนี้ผมต้องหายเมื่อยล้าในระดับหนึ่งแล้วครับ) คำถามคือ 1. ทำอย่างไรให้หายเมื่อยล้าเร็ว ๆ ครับ 2. วิ่งระยะทางเพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม แล้วรู้สึกแบบนี้เป็นเรื่องปกติใช่ไหมครับ 3. ผมควรพักให้หายเมื่อยล้าในระดับนึง หรือว่า วิ่งซ้ำไปเลยในวันรุ่งขึ้นครับ ผมจะบาดเจ็บไหมครับ 4. ผมควรวอร์มอัพ กับ คูลดาวน์เพิ่มไหมครับ หรือว่า ควรลดระยะทางลงเหลือ 5 กม.

ฟังร่างกายตัวเอง ร่างกายแต่ละคนมีขอบเขตและศักยภาพแตกต่างกัน แม้จะฝึกซ้อมมในแผนการซ้อมเดียวกันแต่ก็ใช่ว่าจะวิ่งได้เหมือนกันทุกคน คอร์สที่เพื่อนคุณซ้อมอาจหนักเกินไปสำหรับคุณก็เป็นได้ หรือแม้แต่เวลาพักระหว่างเซตของ Interval ที่น้อยไป ทำให้ร่างกายยังไม่ทันพักก็ต้องออกวิ่ง พักน้อย วิ่งหนัก หักโหมกว่าเดิม ดังนั้นควรหมั่นสังเกตร่างกายตัวเอให้ดี ดูพื้นฐานความแข็งแรง ประสบการณ์การวิ่ง ว่ามีตรงไหนที่ผิดปกติ เพื่อแก้ไขให้ทันท่วงที 4. กินอาหารให้ถึง ดื่มน้ำเยอะๆ ซ้อมหนักแล้วก็ต้องกินเข้าไปชดเชย ไม่งั้นกล้ามเนื้อที่ฉีกขาดจากการฝึกซ้อมจะไม่สามารถนำสารอาหารไปซ่อมแซมให้กลับมาดั่งเดิมได้ เพราะร่างกายเจริญเติบโตได้ด้วยสารอาหาร ถ้าอยากให้ร่างกายมีกล้ามเนื้อที่ดี มีพลังงานร่างกายที่ดี ควรเน้นโปรตีนที่ดี ผัก ผลไม้ ลดน้ำตาล ของทอด ของมัน ดีกว่ากล้ามเนื้อที่มาจากอาหารแย่ๆ รวมไปถึงดื่มน้ำเปล่าเยอะ เพื่อช่วยฟื้นฟูร่างกายให้เร็วและดีกว่าเดิม 5. นวดบริหารกล้ามเนื้อบ้าง การนวดช่วยผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งการนวดประเภทนี้ไม่ส่งผลให้คุณเสียกล้ามเนื้อไป ตามความเชื่อผิดๆ ที่บอกต่อกันมา สรุป แม้อาการ Overtraining อาจเกิดได้ยากหากคุณไม่ได้ซ้อมแบบหักโหมจะเป็นจะตาย ไม่พักผ่อนเลย อาจยังไม่เข้าใจว่าการซ้อมหนักที่แท้จริงเป็นยังไง การซ้อมเบาจริงๆ เป็นยังไง เลยลอยอยู่กลางๆ คือไม่หนักแต่ก็ไม่เบา จนทำให้พัฒนาสมรรถภาพวิ่งได้ช้ากว่าที่ควรจะเป็น แบ่งตารางการฝึก การพัก การกิน ให้ลงตัว ไม่มีอะไรที่ดีในความสุดโต่งแน่นอน และอย่าลืมว่าที่จริงแล้วกล้ามเนื้อสร้างตอนคุณพัก ไม่ได้สร้างตอนคุณซ้อม

10 ท่าวอร์มอัพง่าย ๆ ก่อนวิ่งป้องกันอาการบาดเจ็บ 13 ท่า Cool Down ช่วยลดปัญหาบาดเจ็บจากการวิ่งและออกกำลังกาย วิ่งลงส้นเท้า กลางเท้า ปลายเท้า แบบไหนดีกว่ากัน? ผลกระทบต่อร่างกาย 1. นอนไม่หลับ การฝึกมากจนเกินไปทำให้ระบบฮอร์โมนและระบบประสาทแปรปรวนได้ ทำให้นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย แม้จะรู้สึกเหนื่อยล้าจากการออกกำลังกาย อยากทิ้งตัวลงนอน ส่งผลให้ร่างกายไม่ได้รับการฟื้นฟูและซ่อมแซมตามที่ควรจะเป็น เพราะร่างกายจะเกิดการพัฒนาในขณะที่พักผ่อน และช่วงเวลาที่เหมาะสมแก่การนอนเพื่อให้ร่างกายฟื้นฟูเต็มที่คือ 4 ทุ่ม - ตี 2 2. ประสิทธิภาพในการออกกำลังกายลดลง หลายคนเข้าใจว่ายิ่งซ้อมมาก ยิ่งเก่งมาก ซึ่งก็ไม่ผิด ควรเป็นการซ้อมที่พอดี พักผ่อนให้เพียงพอ แต่เมื่อเราฝึกมากเกินขีดจำกัดของร่างกายย่อมส่งผลต่อประสิทธิภาพและศักยภาพแน่นอน เช่น วิ่งเหนื่อยกว่าปกติในความเร็วเท่าเดิม, ไม่สามารถกดความเร็วลงได้เหมือนก่อน ซึ่งอาการเหล่านี้ส่งผลเสียต่อนักกีฬาหรือคนที่มีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพ สาเหตุหลักคือร่างกายฟื้นตัวไม่ทัน ไม่พร้อมที่จะใช้พลังในการออกกำลังกาย ทำให้ประสิทธิภาพแย่ลงเรื่อยๆ 3. เจ็บปวดหรือเมื่อยล้ากล้ามเนื้อนานกว่าปกติ เวลาที่ออกกำลังกาย กล้ามเนื้อถูกใช้งานอย่างหนักย่อมทำให้เมื่อยล้าเป็นปกติ รวมไปถึง ดอมส์ (Delayed Onset Muscle Soreness / DOMS) ที่เป็นอาการปวดกล้ามเนื้อหลังออกกำลังกาย ซึ่งจะเกิดหลังออกกำลังกาย และหายไปเองใน 24 - 48 ชั่วโมง แต่หากคุณอยู่ในสภาวะ Overtraining จะทำให้กล้ามเนื้อใช้เวลาฟื้นตัวนานกว่าปกติ สังเกตจากระยะเวลาฟื้นตัว ถ้ามากกว่า 72 ชั่วโมงแล้วยังไม่หายเจ็บปวดหรือเมื่อยล้า 4.

รับมือกับ PM 2. 5 ในวันที่ฉันต้องวิ่ง หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน สังเกตุตัวเองก่อนจะสายไป 10 ปณิธานสร้างแรงบันดาลใจนักวิ่งเปลี่ยนตัวเองเป็นคนใหม่ ปี 2021 ผลกระทบต่อจิตใจ 6. ไม่สดชื่นแจ่มใสเหมือนเคย เวลาที่ออกกำลังกายเราจะรู้สึกเฟรช กระปรี้กระเปร่า แต่หากฝึกมากเกินจะส่งผลตรงข้าม คือ รู้สึกไม่ค่อยสบาย ไม่สดชื่นแจ่มใส อย่างที่ควรเป็น เพราะร่างกายมีภาวะเครียดสะสมภายใน เมื่อยล้าตลอดเวลา อีกทั้งเหนื่อยจากการฟื้นตัวไม่ทันด้วย 7. อารมณ์แปรปรวนเครียดง่าย ความเครียดในปริมาณที่พอเหมาะเป็นสิ่งที่ดีสำหรับร่างกาย แต่ร่างกายสามารถรับมือกับความเครียดได้จำกัด ซึ่งหากคุณสะสมความเครียดไว้เยอะเกินกว่าตัวเองรับไหว สุดท้ายร่างกายทนรับไม่ได้ก็จะระเบิดออกมา กลายเป็นคนเครียด หงุดหงิดง่าย ฮึดฮัด หรือหดหู่โดยไม่ทราบสาเหตุ นั่นเพราะพักฟื้นร่างกายไม่เพียงพอ หลีกเลี่ยง Overtraining ได้อย่างไรบ้าง 1.

รู้จัก Over training อาการบ้าวิ่งที่ทำให้ฟอร์มตก l STADIUMTH

เหมือนเดิมครับ 5. ผมควรวิ่ง 5 กม. เหมือนเดิม แล้วเพิ่มความเร็วดีไหมครับ 6. ผมควรใช้ยาช่วยไหมครับ มียาแนะนำไหมครับ (ขอ tag แพทย์นะครับ) 7. มีอะไรแนะนำเพิ่มไหมครับ รบกวนช่วยแนะนำด้วยครับ ขอบคุณครับ

ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหลังออกกำลังกาย ขณะที่ร่างกายของเรามีการเคลื่อนไหว จะเกิดกระบวนการนำเอาพลังงานในกล้ามเนื้อมาใช้ ทำให้เกิดของเสียจากกระบวนการดังกล่าวซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ ออกมาเป็นกรดแลคติก (Lactic Acid) กรดนี้จะทำให้เกิดความเมื่อยล้าในกล้ามเนื้อ และจะค่อยๆ สลายไปหลังออกกำลังกาย การยืดเหยียดกล้ามเนื้อและเคลื่อนไหวช้าๆ หรือคลายกล้ามเนื้อหลังออกกำลังกาย จะช่วยให้ร่างกายสลายกรดแลคติกได้ดียิ่งขึ้น การปวดเมื่อยในระดับนี้ถือว่าเป็นเรื่องปกติ เพราะร่างกายใช้กล้ามเนื้อไม่มากจนเกินความสามารถของร่างกาย 2.

  • หนัง ดิน แดน ไร้ เสียง 2.2
  • ค รอ ป แขน ยาว
  • ยิ่ง ยศ เทพ จํา น ง ค์
  • พรีเมียร์ลีก : สเปอร์ส VS ลิเวอร์พูล - liverpoolworld.com
  • ปังมากแม่…ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของดีไซน์และสเปกของ iPhone 12
  • โหลด windows 10 32 bit iso 9001
  • ร้าน รับ หิ้ว ของ เกาหลี
  • ทำไม เยอรมนี ถึงเป็น ประเทศแห่งเบียร์
  • Birds of Prey ทีมนกผู้ล่า กับฮาร์ลีย์ ควินน์ ผู้เริดเชิด เต็มเรื่อง
  • แบงก์ชาติ จับมือธนาคาร ประกาศพักหนี้ 2 เดือน ช่วยประชาชนเริ่ม ก.ค. 64

13 เทคนิคปลุกแพสชั่นกลับมาวิ่งได้สนุกอีกครั้ง Pace คืออะไร?

  1. หลวง พ่อ โส ธร หลัง ร 5 เนื้อ ทองคำ
  2. ยาง pirelli pcx ขอบ 14 3
  3. บ ข ส ร้อยเอ็ด กรุงเทพ